อุปกรณ์ป้องกันฟันล้ม

เครื่องมือกันช่องว่างระหว่างฟัน คืออะไร

การใส่เครื่องมือกันช่องว่างระหว่างฟัน (Space Maintainer) จะทำในกรณีที่มีการสูญเสียฟันไปก่อนวัยอันควรทำให้มีช่องว่างเกิดขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้ฟันซี่อื่นเบียดเข้ามาในช่องว่างตำแหน่งฟันที่ถูกถอนไป ทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นมาตรงตำแหน่งนั้นไม่มีที่เพียงพอ จึงต้องมีการใส่อุปกรณ์ป้องกันฟันล้มหรือเครื่องมือกันช่องว่างระหว่างฟัน

ชนิดของเครื่องมือกันช่องว่างระหว่างฟัน

  1. แบบถอดได้ : สามารถใส่และถอดมาทำความสะอาดได้
  2. แบบติดแน่น : ไม่สามารถถอดเครื่องมือออกเองได้

ขั้นตอนการทำเครื่องมือกันช่องว่างระหว่างฟัน

  1. ทันตแพทย์ทำการพิจารณาว่าเหมาะกับการใส่อุปกรณ์ป้องกันฟันล้มแบบไหน
  2. ทำการพิมพ์ฟัน
  3. ใส่เครื่องมือกันช่องว่างระหว่างฟัน

ระยะเวลาการทำเครื่องมือกันช่องว่างระหว่างฟัน

การทำอุปกรณ์ป้องกันฟันล้มใช้ระยะเวลาในการตรวจและพิมพ์ฟันไม่นานประมาณ 10-20 นาที แต่จะมีการรออุปกรณ์ประมาณ 1-2 สัปดาห์

อายุการใช้งานของเครื่องมือกันช่องว่างระหว่างฟัน

อุปกรณ์ป้องกันฟันล้มโดยปกติสามารถใช้งานได้จนถึงวันที่มีฟันแท้เกิดขึ้นมา และจะขึ้นอยู่กับการดูแลรักษาที่ดีด้วย

การดูแลรักษาหลังใส่เครื่องมือกันช่องว่างระหว่างฟัน

  • ทำความสะอาดฟันและใช้ไหมขัดฟันอย่างสม่ำเสมอ
  • กรณีใส่แบบถอดได้ควรล้างทำความสะอาดเครื่องมืออย่างสม่ำเสมอ
  • กรณีใส่แบบติดแน่นควรหลีกเลี่ยงหมากฝรั่งหรือลูกอม
  • สำหรับกรณีที่ใส่อุปกรณ์ป้องกันฟันล้มแบบติดแน่นอาจต้องพบทันตแพทย์ทุกๆ 3 เดือนหรือตามที่นัดหมายเนื่องจากฟันแท้อาจจะมีการงอกขึ้นมาแล้วจำเป็นต้องถอดอุปกรณ์
  • พบทันตแพทย์ทุกๆ 6 เดือน เพื่อตรวจสอบอุปกรณ์และช่องปาก

คำถามที่พบบ่อย

A : การใส่อุปกรณ์ป้องกันฟันล้มมีความจำเป็นสำหรับเด็กที่มีการสูญเสียฟันน้ำนมในขณะที่ยังอายุน้อยๆ ซึ่งต้องรอระยะเวลาที่ฟันแท้ขึ้น อาจส่งผลทำให้ฟันล้ม ฟันเก ฟันซ้อน และปัญหาฟันอื่นๆ ตามมาได้

A : สำหรับการทำอุปกรณ์ป้องกันฟันล้มนั้นจะมีการทำแค่การพิมพ์ฟัน ทำให้ไม่มีอาการเจ็บปวดเกิดขึ้น แต่เวลาใส่อาจจะรำคาญได้ในช่วงแรก

นิสัยที่ควรปลูกฝังให้ลูกๆ ถ้าอยากให้ลูกกลายเป็นยอดมนุษย์ฟันแข็งแรง

อาหารบำรุงฟันสำหรับเด็กมีอะไรบ้าง และมีผลต่อลูกน้อยอย่างไร พาคุณพ่อคุณแม่ไปรู้จักกับอาหารบำรุงฟันลูกน้อย ช่วยป้องกันฟันผุให้ลูก ช่วยเสริมโภชนาการและได้ดูแลฟันของลูก

ทันตกรรมเด็ก

ฟันแท้ขึ้นซ้อนฟันน้ำนม อันตรายกับลูก หรือไม่ ?

อาหารบำรุงฟันสำหรับเด็กมีอะไรบ้าง และมีผลต่อลูกน้อยอย่างไร พาคุณพ่อคุณแม่ไปรู้จักกับอาหารบำรุงฟันลูกน้อย ช่วยป้องกันฟันผุให้ลูก ช่วยเสริมโภชนาการและได้ดูแลฟันของลูก

ทันตกรรมเด็ก

เด็กเล็ก ควรถอนฟันน้ำนมตอนไหน ถ้าอยากให้ฟันแท้ที่ขึ้นใหม่เรียงตัวสวย

อาหารบำรุงฟันสำหรับเด็กมีอะไรบ้าง และมีผลต่อลูกน้อยอย่างไร พาคุณพ่อคุณแม่ไปรู้จักกับอาหารบำรุงฟันลูกน้อย ช่วยป้องกันฟันผุให้ลูก ช่วยเสริมโภชนาการและได้ดูแลฟันของลูก

ทันตกรรมเด็ก

จริง ๆ แล้วฟันแท้มีกี่ซี่ และต้องรอฟันแท้ขึ้นครบก่อนไหมถึงเริ่มจัดฟัน

อาหารบำรุงฟันสำหรับเด็กมีอะไรบ้าง และมีผลต่อลูกน้อยอย่างไร พาคุณพ่อคุณแม่ไปรู้จักกับอาหารบำรุงฟันลูกน้อย ช่วยป้องกันฟันผุให้ลูก ช่วยเสริมโภชนาการและได้ดูแลฟันของลูก

ทันตกรรมเด็ก

5 คำถามเช็คลิสต์สำหรับคุณพ่อคุณแม่!! ก่อนเลือกคลินิกทำฟันเด็กให้ลูก

อาหารบำรุงฟันสำหรับเด็กมีอะไรบ้าง และมีผลต่อลูกน้อยอย่างไร พาคุณพ่อคุณแม่ไปรู้จักกับอาหารบำรุงฟันลูกน้อย ช่วยป้องกันฟันผุให้ลูก ช่วยเสริมโภชนาการและได้ดูแลฟันของลูก

ทันตกรรมเด็ก

ป้องกันฟันน้ำนมเหลืองให้ลูกด้วยวิธีดูแลช่องปากง่าย ๆ ทำที่บ้านได้

อาหารบำรุงฟันสำหรับเด็กมีอะไรบ้าง และมีผลต่อลูกน้อยอย่างไร พาคุณพ่อคุณแม่ไปรู้จักกับอาหารบำรุงฟันลูกน้อย ช่วยป้องกันฟันผุให้ลูก ช่วยเสริมโภชนาการและได้ดูแลฟันของลูก

ทันตกรรมเด็ก

จัดฟันตอนเด็กดีไหม โตไปลูกจะรูปหน้าเปลี่ยนมากหรือเปล่า

อาหารบำรุงฟันสำหรับเด็กมีอะไรบ้าง และมีผลต่อลูกน้อยอย่างไร พาคุณพ่อคุณแม่ไปรู้จักกับอาหารบำรุงฟันลูกน้อย ช่วยป้องกันฟันผุให้ลูก ช่วยเสริมโภชนาการและได้ดูแลฟันของลูก

ทันตกรรมเด็ก

การอุดฟันเด็ก ใช้วัสดุอุดฟันแบบไหนที่เหมาะกับช่องปากหนู ๆ ที่สุด

อาหารบำรุงฟันสำหรับเด็กมีอะไรบ้าง และมีผลต่อลูกน้อยอย่างไร พาคุณพ่อคุณแม่ไปรู้จักกับอาหารบำรุงฟันลูกน้อย ช่วยป้องกันฟันผุให้ลูก ช่วยเสริมโภชนาการและได้ดูแลฟันของลูก

ทันตกรรมเด็ก

ลูกล้มฟันหัก ! ทำอย่างไรเมื่อฟันแท้ลูกบิ่นหรือฟันแตก จากอุบัติเหตุ

อาหารบำรุงฟันสำหรับเด็กมีอะไรบ้าง และมีผลต่อลูกน้อยอย่างไร พาคุณพ่อคุณแม่ไปรู้จักกับอาหารบำรุงฟันลูกน้อย ช่วยป้องกันฟันผุให้ลูก ช่วยเสริมโภชนาการและได้ดูแลฟันของลูก

ทันตกรรมเด็ก

แนะนำอาหารบำรุงฟันเด็ก ป้องกันฟันผุให้ลูกๆ

อาหารบำรุงฟันสำหรับเด็กมีอะไรบ้าง และมีผลต่อลูกน้อยอย่างไร พาคุณพ่อคุณแม่ไปรู้จักกับอาหารบำรุงฟันลูกน้อย ช่วยป้องกันฟันผุให้ลูก ช่วยเสริมโภชนาการและได้ดูแลฟันของลูก

ทันตกรรมเด็ก

อย่าชะล่าใจ ! ปล่อยให้เด็กฟันดำ จนเสียความมั่นใจ

ฟันดำในเด็กนั้นมีสาเหตุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือจะเป็นพฤติกรรมเสี่ยงของตัวเด็กเอง ไม่ว่าจะเป็น คราบสีจากอาหารและเครื่องดื่มไปเคลือบติดอยู่บนผิวฟัน

ทันตกรรมเด็ก

ดูแลฟันน้ำนมของเด็ก ๆ ให้แข็งแรง ด้วยวิธีรักษารากฟันน้ำนม

รักษารากฟันน้ำนม คือ วิธีรักษาทางทันตกรรมสำหรับฟันน้ำนมที่ผุลึกถึงโพรงประสาทฟัน จนไม่สามารถรักษาด้วยอุดฟันปกติ ต้องรักษาเพื่อเก็บฟันซี่นั้นไว้ก่อน จนกว่าฟันแท้จะงอก

ทันตกรรมเด็ก

แก้ปัญหาลูกงอแง "คันเหงือก" เมื่อฟันซี่แรกจะขึ้น

เด็กทารกจะเริ่มมีฟันซี่แรกขึ้นเมื่ออายุ 6 เดือน ดังนั้นคุณพ่อคุณแม่อาจต้องหาวิธีแก้อาการคันเหงือก และช่วยลูกน้อยเมื่อฟันเริ่มขึ้น เพื่อการดูแลฟันลูกน้อยให้ถูกวิธี

ทันตกรรมเด็ก

คู่มือสำหรับพ่อแม่ เพื่อดูแลฟันซี่แรกของลูกให้แข็งแรง

เทคนิคการดูแลฟันเด็กตั้งแต่ฟันน้ำนมซี่แรกที่พ่อแม่ทุกคนควรรู้ เริ่มดูแลสุขภาพฟันตั้งแต่ซี่แรกของลูกน้อย เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพฟันของลูกน้อยในอนาคต

ทันตกรรมเด็ก

การทำสะพานฟันเด็ก ทางเลือกใหม่ของหนูๆ ที่สูญเสียฟันอย่างถาวร

สำหรับเด็กๆ ที่สูญเสียฟันแท้ไปจากฟันผุลึก หรือฟันบิ่น ฟันแตกหัก จนไม่สามารถซ่อมแซมด้วยการอุดฟันได้ การทำสะพานฟันเป็นหนึ่งในวิธีการยอดนิยมที่คุณหมอฟันเด็กแนะนำ

ทันตกรรมเด็ก

โปรโมชั่นทำฟัน

ปรึกษาเรื่องช่องปากและฟันกับเรา ฟรี!!

Please enable JavaScript in your browser to complete this form.
คนไข้เคยเข้ามาใช้บริการแล้วหรือยัง ?
Checkboxes
การนัดหมายของคุณจะเสร็จสมบูรณ์ เมื่อมีเจ้าหน้าที่ติดต่อกลับเพื่อยืนยันนัดหมายแล้วเท่านั้น
เว็บไซต์นี้ มีการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ (Cookies) เพื่อส่งมอบประสบการณ์ที่ดียิ่งขึ้นให้แก่คุณในการเข้าใช้งานเว็บไซต์ คุณสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้คุกกี้ได้ที่
ยอมรับ
ปฏิเสธ
Privacy Policy